วันพฤหัสบดีที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ส่งงานพิพิธภัณฑ์ คือ อะไร

24 ความคิดเห็น:

Museum Studies กล่าวว่า...

วิธีการตอบ - - ส่งการบ้าน
คลิ๊กที่แสดงความเห็น
กรอก email address
ใส่ password
กำหนด user name
เขียนคำตอบในช่องฝากความคิดเห็นของคุณ
หมายเหตุ. นศ.ต้องส่งงานก่อนเที่ยงคืนวันพุธ

โซ่ กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์
[พิพิดทะพัน] มีรากศัพท์มาจากภาษา บาลี-สันกฤต จากคำว่า วิวิธ ซึ่งเป็นคำวิเศษณ์ แปลว่า ต่างๆ กัน สมาส กับคำว่า ภัณฑ์ ซึ่งเป็นคำนาม แปลว่า สิ่งของเครื่องใช้ ดังนั้น เมื่อรวมกันจึงได้คำว่า วิวิธภัณฑ์ หรือ ตามสำเนียงไทย คือ คำว่า พิพิธภัณฑ์นั่นเอง ซึ่งถ้าแปลตามรูปศัพท์แล้ว หมายถึงสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่มีอยู่อย่างหลากหลาย แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าแปลโดยเอาความหมายที่สื่อสารกันแล้ว ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้กล่าวไว้ว่า พิพิธภัณฑ์ เป็นคำนาม หมายถึง "สิ่งของต่างๆ ที่รวบรวมไว้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา เช่น โบราณวัตถุ หรือ ศิลปวัตถุ" ซึ่งถึงแม้ว่า ในพจนานุกรมได้ให้ความหมายไว้เช่นนั้น แต่การใช้คำว่า พิพิธภัณฑ์ ในปัจจุบันมักนิยมหมายถึง "สถานที่หรือ สถาบัน สำหรับเก็บรวบรวมสิ่งของต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการศึกษา" ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ความหมายของพิพิธภัณฑ์นี้ได้แปรเปลี่ยนไปจากรูปศัพท์เดิม กลายเป็นมีความหมายเดียวกันกับคำว่า พิพิธภัณฑสถาน

ป่าน กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์ คือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อการพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษาและจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์น้ำ และสถานที่อันจัดเป็นเขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์วิทยาศาสตร์และท้องฟ้าจำลอง

เกตุ กล่าวว่า...

อยู่ในกระทู้แรกนะค่ะ

Bigg กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์
คำว่า Museum ในภาษาอังกฤษ ดัดแปลงมาจากภาษาละติน "museums" หรือ "musea" ที่มีรากฐานมาจากภาษากรีก "mouseion" ใช้แทนความหมายว่าสถานที่หรือวิหารที่อุทิศให้เทพธิดา
พิพิธภัณฑ์ ความหมายของพิพิธภัณฑ์ " ตามที่สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ หรือ ICOM (International Council of Museums) ได้ให้คำจำกัดความไว้แล้วว่า " พิพิธภัณฑ์ " คือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อการพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษาและจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์น้ำ และสถานที่อันจัดเป็นเขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์วิทยาศาสตร์และท้องฟ้าจำลอง "
จะเห็นได้ว่า คำจำกัดความของพิพิธภัณฑ์นั้นกว้างมาก ครอบคลุมทั้งด้านวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์และธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์นั้นแบ่งได้หลายแบบและบางแห่งก็จัดได้หลายประเภท เช่น ๑) แบ่งตามการสะสมรวบรวมวัตถุ ( Collection) ๒) แบ่งตามต้นสังกัดหรือการบริหาร เช่น พิพิธภัณฑ์ของรัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย ๓) แบ่งตามลักษณะของผู้เข้าชมหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น นักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลทั่วไป หรือ ๔) แบ่งตามการจัดแสดง เช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์แหล่งโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ฯลฯ
แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะประเภทของพิพิธภัณฑ์ที่แบ่งตามการจัดแสดง และวัตถุประสงค์ที่ใช้ในการจัดแสดง ซึ่งเป็นที่นิยมกันทั่วไปในปัจจุบัน คือ
๑. พิพิธภัณฑสถานประเภททั่วไป จะรวบรวมวัตถุทุกประเภท และทุกเรื่องเอาไว้ ถือเป็นพิพิธภัณฑ์แบบแรกก่อนที่จะมีการพัฒนาเป็นพิพิธภัณฑ์เฉพาะเรื่องในสมัยต่อมา
๒. พิพิธภัณฑสถานศิลปะ จัดแสดงเกี่ยวกับศิลปวัตถุทุกประเภท โดยจะแยกย่อยออกเป็น พิพิธภัณฑสถานศิลปประยุกต์ แสดงวัตถุที่เป็นงานฝีมือ เครื่องใช้ไม้สอยต่างๆ หอศิลป์ แสดงงานศิลปะประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม, พิพิธภัณฑสถานศิลปะสมัยใหม่จะคล้ายกับหอศิลป์ แต่จะเป็นศิลปะสมัยใหม่ของศิลปินร่วมสมัยในยุคหลัง, พิพิธภัณฑสถานศิลปะประเภทการแสดง และพิพิธภัณฑสถานศิลปะแรกเริ่ม แสดงงานศิลปะดั้งเดิมของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์
๓. พิพิธภัณฑสถานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื้อหาหลักคือแสดงวิวัฒนาการความก้าวหน้าของวัตถุที่มนุษย์คิดค้นประดิษฐ์ขึ้น
๔. พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา จัดแสดงเรื่องราวของธรรมชาติเกี่ยวกับเรื่องของโลก ทรัพยากรทางธรรมชาติต่างๆ และยังรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ-สัตว์บกด้วย
๕. พิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์ แสดงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แยกย่อยได้เป็นพิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์ แสดงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับการเมือง ทหาร สังคม และเศรษฐกิจ, บ้านประวัติศาสตร์ คือการนำเสนอสถานที่ซึ่งเคยเป็นที่อยู่อาศัยของผู้ที่มีชื่อเสียงในอดีต, โบราณสถาน, อนุสาวรีย์ และสถานที่สำคัญทางวัฒนธรรมต่างๆ รวมถึงเมืองประวัติศาสตร์ และพิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์โบราณคดี
๖. พิพิธภัณฑสถานชาติพันธุ์วิทยาและประเพณีพื้นเมือง แสดงชีวิตความเป็นอยู่ในทางวัฒนธรรมและสังคมของมนุษย์และชาติพันธุ์ต่างๆ แบ่งออกเป็น พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้าน (พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น) โดยจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้พื้นบ้าน และพิพิธภัณฑสถานกลางแจ้ง เป็นการจำลองภาพในอดีตด้วยการนำอาคารเก่า หรือจำลองสิ่งปลูกสร้างต่างๆ มาไว้ในบริเวณเดียวกัน โดยพยายามสร้างสภาพแวดล้อมรวมถึงบรรยากาศให้เหมือนเช่นในอดีต

My Opinion

ความหมาย “พิพิธภัณฑ์”

คำว่า “พิพิธภัณฑ์” ในสมัยก่อน ให้ความรู้สึกต่างกับปัจจุบัน คือ สมัยก่อนคนส่วนมากจะคิดว่าพิพิธภัณฑ์ คือ แหล่งเก็บและรวมรวมสิ่งมีค่าสะสมของหายากของเก่า แต่ในปัจจุบัน มุมมองได้ปรับเปลี่ยนจนกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ความเพลิดเพลินจนบางคน เรียกว่า “พิพิธเพลิน”
พิพิธภัณฑ์ จะเป็นแหล่งสะท้อนถึง สังคม วัฒนธรรม ความเป็นตัวตน สติปัญญา และในประเทศไทย ยังไม่มีพิพิธภัณฑ์ที่ดีเทียบเท่าพิพิธภัณฑ์ที่ต่างประเทศ เนื่องจากปัญหาเรื่องเงินทุนและการทำงานไม่เป็นขั้นตอน ไม่ได้ร่วมมือกับผู้คนในท้องถิ่นอย่างลึกซึ้งได้แต่นำนักวิชาการมาใส่ภาพลักษณ์ที่ตนเองเข้าใจลงไป พิพิธภัณฑ์ที่ดีต้องเป็นแหล่งเพิ่มพูนความรู้กระตุ้นให้คนแสวงหาความรู้ อยากเรียนรู้ และรู้ว่าจะหาความรู้ได้อย่างไร ดังตัวอย่างที่ได้ Research มามี 2 ที่ ที่แรก คือ Natural History Museum ที่ฝรั่งเศส highlight ของที่นี่คือ การนำสัตว์ทุกชนิดมารวมจัดโชว์เป็นฝูงใหญ่เพราะ คนทั่วไป ไม่มีโอกาสได้เห็นสัตว์เป็นอาณาจักรขบวนใหญ่ขนาดนี้ ส่วนพิพิธภัณฑ์ที่ 2 คือ พิพิธภัณฑ์ฟาโรห์ที่อิยิปต์ มีการจำลองหลุมฝังศพ ของฟาโรห์ทุกพระองค์ เพื่อสื่อถึงอารมณ์ ในการขุดพบ จากทั้ง 2 สถานที่ ได้สื่ออารมณ์ ของคำว่าพิพิธภัณฑ์ ให้เป็นแหล่งที่กระตุ้น ผู้คนให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมาก ทำให้เกิด อารมณ์ความรู้สึกนึกคิดไปตามสถานที่ ได้

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

Museum is….

A building where collections of valuable and interesting objects are kept and shown to the public.
Source: Oxford wordpower dictionary

A building or room in which antiques or other objects of historical or scientific interest are collected and exhibited
Source: msnucleus.org/membership/html/k-6/rc/dictionary/rcdict.html

An organized space devoted to preserving, viewing and studying works of art and other manmade elements.
Source: www.brigantine.atlnet.org/GigapaletteGALLERY/websites/ARTiculationFinal/MainPages/J-NVocabulary.htm

An institution which collects, conserves, researches, exhibits, and interprets objects of lasting interest or value for the purposes of study, education and enjoyment.
Source: gondolin.rutgers.edu/MIC/text/how/organization_type_glossary.htm


พิพิธภัณฑ์ คือ ....

พื้นที่ที่ถูกจัดการสำหรับการเก็บรักษาและแสดงสิ่งของต่างๆ ที่ทั้งธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น เพื่อการศึกษา ค้นคว้าที่ได้รับความรู้ และ ความสนุกสนานตื่นเต้น ไปพร้อมๆกัน
Source: อาทิตย์ วงศ์ประดู่ 1480804002

ใหม่ กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์ เป็นสถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นโดยมีจุดประสงค์ รูปแบบ เนื้อหาและหน้าที่แตกต่างกันไปตามความเป้าหมายในการจัดตั้ง แต่มีเป้าหมายหลักอย่างเดียวกัน ก็คือเก็บรักษาและจัดแสดงจิตสำนึกทางวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ วัตถุ สิ่งของที่เก็บและจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์อาจเคลื่อนย้าย เปลี่ยนแปลง และหมุนเวียนได้อย่างหลากหลาย
พิพิธภัณฑ์มักจะให้บริการแก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ในการศึกษา สันทนาการ แสดงความภูมิใจของท้องถิ่น ดึงดูดนักท่องเที่ยว หรือแสดงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ โบราณคดี ฯลฯ โดยมีผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ เรียกว่า ภัณฑารักษ์
ปัจจุบันแนวคิดของพิพิธภัณฑ์ ยังมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น จากแค่เป็นการเก็บ/แสดงวัตถุ เป็นการให้ประสบการณ์การเรียนรู้ และความเพลิดเพลินไปพร้อมๆกัน ตัวอย่างเช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ (aquarium) พิพิธภัณฑ์หรือศูนย์การหรืออุทยานการเรียนรู้ที่มีชีวิต (living museum) บางทีอาจไม่มีวัตถุเก็บรักษาไว้แต่เป็นการจัดแสดงสื่อความหมายโดยสื่อต่างๆร่วมกันก็ได้ เป็นต้น

(จาก....วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.....th.wikipedia.org/wiki/พิพิธภัณฑ์)


พิพิธภัณฑ์
[พิพิดทะพัน] มีรากศัพท์มาจากภาษา บาลี-สันกฤต จากคำว่า วิวิธ ซึ่งเป็นคำวิเศษณ์ แปลว่า ต่างๆ กัน สมาส กับคำว่า ภัณฑ์ ซึ่งเป็นคำนาม แปลว่า สิ่งของเครื่องใช้ ดังนั้น เมื่อรวมกันจึงได้คำว่า วิวิธภัณฑ์ หรือ ตามสำเนียงไทย คือ คำว่า พิพิธภัณฑ์นั่นเอง ซึ่งถ้าแปลตามรูปศัพท์แล้ว หมายถึงสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่มีอยู่อย่างหลากหลาย แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าแปลโดยเอาความหมายที่สื่อสารกันแล้ว ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้กล่าวไว้ว่า พิพิธภัณฑ์ เป็นคำนาม หมายถึง "สิ่งของต่างๆ ที่รวบรวมไว้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา เช่น โบราณวัตถุ หรือ ศิลปวัตถุ" ซึ่งถึงแม้ว่า ในพจนานุกรมได้ให้ความหมายไว้เช่นนั้น แต่การใช้คำว่า พิพิธภัณฑ์ ในปัจจุบันมักนิยมหมายถึง "สถานที่หรือ สถาบัน สำหรับเก็บรวบรวมสิ่งของต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการศึกษา" ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ความหมายของพิพิธภัณฑ์นี้ได้แปรเปลี่ยนไปจากรูปศัพท์เดิม กลายเป็นมีความหมายเดียวกันกับคำว่า พิพิธภัณฑสถาน
พิพิธภัณฑสถาน
[พิพิดทะพันทะสะถาน] ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 กล่าวไว้ว่า เป็นคำนาม หมายถึง "สถาบันถาวรที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่างๆ ที่มีความสำคัญด้านวัฒนธรรม หรือ ด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาเล่าเรียน และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ"
ข้อมูลจาก http://203.144.221.103/database/museums/museums.htm
ผมพยายามจจะหาหลักฐานมาประกอบในเบื้องต้นว่า พิพิธภัณฑ์ แปลว่าของเก่า ของโบราณ และ เติม คำว่า สถาน ต่อท้าย จะได้คำที่มีความหมายว่า ที่ว่าเป็นที่เก็บของเก่า แต่ไม่สามารถหาหลักฐานมาได้ในปัจจุบัน แต่กลับได้พบข้อความใหม่ดังกล่าวข้างต้น จึงพออนุมานได้


(จาก....วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี...th.wikipedia.org/wiki/พูดคุย:พิพิธภัณฑ์ )


พิพิธภัณฑ์ ความหมายของพิพิธภัณฑ์ " ตามที่สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ หรือ ICOM (International Council of Museums) ได้ให้คำจำกัดความไว้แล้วว่า " พิพิธภัณฑ์ " คือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อการพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษาและจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์น้ำ และสถานที่อันจัดเป็นเขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์วิทยาศาสตร์และท้องฟ้าจำลอง "

(จาก...www.panyathai.or.th)

+ o = กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์ " ก็เป็นอีกแหล่งหนึ่งของรูปแบบสถานศึกษานอกระบบที่สามารถตอบสนองการเรียนรู้ให้เท่ากันโลกได้

มี " ความหมายของพิพิธภัณฑ์ " ตามที่สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ หรือ ICOM (International Council of Museums) ได้ให้คำจำกัดความไว้แล้วว่า " พิพิธภัณฑ์ " คือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อการพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษาและจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์น้ำ และสถานที่อันจัดเป็นเขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์วิทยาศาสตร์และท้องฟ้าจำลอง "

จะเห็นได้ว่า คำจำกัดความของพิพิธภัณฑ์นั้นกว้างมาก ครอบคลุมทั้งด้านวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์และธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์นั้นแบ่งได้หลายแบบและบางแห่งก็จัดได้หลายประเภท เช่น ๑) แบ่งตามการสะสมรวบรวมวัตถุ ( Collection) ๒) แบ่งตามต้นสังกัดหรือการบริหาร เช่น พิพิธภัณฑ์ของรัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย ๓) แบ่งตามลักษณะของผู้เข้าชมหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น นักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลทั่วไป หรือ ๔) แบ่งตามการจัดแสดง เช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์แหล่งโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ฯลฯ

http://www.lek-prapai.org/news/news22.3.htm

ฟ่าง กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์ ในความคิดของผมคือสถานที่เก็บหรือเป็นสถานที่ไว้สะสมของต่างๆ
และเป็นที่ให้ศึกษาหาความรู้และเป็นสถานที่ที่ให้ความรู้นั้นสืบต่อเนื้องกันไปเป็นรุ่นต่อรุ่น

บอมบ์ กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์
พิพิธภัณฑ์ ความหมายของพิพิธภัณฑ์ " ตามที่สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ หรือ ICOM (International Council of Museums) ได้ให้คำจำกัดความไว้แล้วว่า " พิพิธภัณฑ์ " คือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อการพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษาและจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์น้ำ และสถานที่อันจัดเป็นเขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์วิทยาศาสตร์และท้องฟ้าจำลอง "

จะเห็นได้ว่า คำจำกัดความของพิพิธภัณฑ์นั้นกว้างมาก ครอบคลุมทั้งด้านวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์และธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์นั้นแบ่งได้หลายแบบและบางแห่งก็จัดได้หลายประเภท เช่น ๑) แบ่งตามการสะสมรวบรวมวัตถุ ( Collection) ๒) แบ่งตามต้นสังกัดหรือการบริหาร เช่น พิพิธภัณฑ์ของรัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย ๓) แบ่งตามลักษณะของผู้เข้าชมหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น นักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลทั่วไป หรือ ๔) แบ่งตามการจัดแสดง เช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์แหล่งโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ฯลฯ

แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะประเภทของพิพิธภัณฑ์ที่แบ่งตามการจัดแสดง และวัตถุประสงค์ที่ใช้ในการจัดแสดง ซึ่งเป็นที่นิยมกันทั่วไปในปัจจุบัน คือ

๑. พิพิธภัณฑสถานประเภททั่วไป จะรวบรวมวัตถุทุกประเภท และทุกเรื่องเอาไว้ ถือเป็นพิพิธภัณฑ์แบบแรกก่อนที่จะมีการพัฒนาเป็นพิพิธภัณฑ์เฉพาะเรื่องในสมัยต่อมา

๒. พิพิธภัณฑสถานศิลปะ จัดแสดงเกี่ยวกับศิลปวัตถุทุกประเภท โดยจะแยกย่อยออกเป็น พิพิธภัณฑสถานศิลปประยุกต์ แสดงวัตถุที่เป็นงานฝีมือ เครื่องใช้ไม้สอยต่างๆ หอศิลป์ แสดงงานศิลปะประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม, พิพิธภัณฑสถานศิลปะสมัยใหม่จะคล้ายกับหอศิลป์ แต่จะเป็นศิลปะสมัยใหม่ของศิลปินร่วมสมัยในยุคหลัง, พิพิธภัณฑสถานศิลปะประเภทการแสดง และพิพิธภัณฑสถานศิลปะแรกเริ่ม แสดงงานศิลปะดั้งเดิมของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์

๓. พิพิธภัณฑสถานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื้อหาหลักคือแสดงวิวัฒนาการความก้าวหน้าของวัตถุที่มนุษย์คิดค้นประดิษฐ์ขึ้น

๔. พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา จัดแสดงเรื่องราวของธรรมชาติเกี่ยวกับเรื่องของโลก ทรัพยากรทางธรรมชาติต่างๆ และยังรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ-สัตว์บกด้วย

๕. พิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์ แสดงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แยกย่อยได้เป็นพิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์ แสดงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับการเมือง ทหาร สังคม และเศรษฐกิจ, บ้านประวัติศาสตร์ คือการนำเสนอสถานที่ซึ่งเคยเป็นที่อยู่อาศัยของผู้ที่มีชื่อเสียงในอดีต, โบราณสถาน, อนุสาวรีย์ และสถานที่สำคัญทางวัฒนธรรมต่างๆ รวมถึงเมืองประวัติศาสตร์ และพิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์โบราณคดี

๖. พิพิธภัณฑสถานชาติพันธุ์วิทยาและประเพณีพื้นเมือง แสดงชีวิตความเป็นอยู่ในทางวัฒนธรรมและสังคมของมนุษย์และชาติพันธุ์ต่างๆ แบ่งออกเป็น พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้าน (พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น) โดยจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้พื้นบ้าน และพิพิธภัณฑสถานกลางแจ้ง เป็นการจำลองภาพในอดีตด้วยการนำอาคารเก่า หรือจำลองสิ่งปลูกสร้างต่างๆ มาไว้ในบริเวณเดียวกัน โดยพยายามสร้างสภาพแวดล้อมรวมถึงบรรยากาศให้เหมือนเช่นในอดีต

มูลนิธิเล็กประไพ วิริยะพันธุ์
media.academic.chula.ac.th


ศาสตร์เรื่องพิพิธภัณฑ์ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การสัมมนาเรื่อง หน้าที่ทางการศึกษาของพิพิธภัณฑสถานซึ่ง UNESCO จัดขึ้นในปี พ.ศ. 2501 ที่ Rio de Janeriro Brazil ทำให้ความหมายขอบข่ายของพิพิธภัณฑ์มีการพัฒนามาโดยตลอด ความหมายที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน ได้แก่ ความหมายที่สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ (International Council of Museums : ICOM) กำหนดไว้ในบทบัญญัติมาตรา 3 และ 4 ดังนี้ (ประชุม ชุ่มเพ็งพันธ์, 2530 อ้างถึงใน ศรินทิรา ปัทมาคม,
2544 : 20)
คำว่า “พิพิธภัณฑ์” นั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ผู้ทรงเชี่ยวชาญทางภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นผู้บัญญัติขึ้น คำว่าพิพิธภัณฑ์ อาจแยกตามรูปคำและความหมายได้ดังนี้
“พิพิธ” เป็นภาษาบาลี-สันสกฤต แปลว่า “ต่าง ๆ กัน”
“ภัณฑ์” แปลว่า สิ่งของเครื่องใช้
“พิพิธภัณฑ์” คือ สิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ นานาที่เก็บรวบรวมไว้ เพื่อชื่นชมและศึกษาหาความรู้ เช่น โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ เป็นต้น (วราภรณ์ เผือกเล็ก, 2541 : 9-10)
นิคม มูสิกะคามะ (2521 : 3) ได้กล่าวถึงความหมายของพิพิธภัณฑ์ว่า พิพิธภัณฑสถาน คือสถาบันที่ตั้งขึ้น เพื่อรวบรวม สงวนรักษาและจัดแสดงวัตถุอันมีความสำคัญทางวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาและความเพลิดเพลิน ให้รวมถึงหอศิลป์ อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ สวนสัตว์ สวนพฤษชาติ วนอุทยาน สถานที่เลี้ยงสัตว์น้ำ และสถานที่อื่น ๆ ที่จัดแสดงสิ่งมีชีวิต
นอกจากนี้ยังมีคำจำกัดความของสภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ (International Council of Museum) กำหนดไว้ในบทบัญญัติมาตรา 3 และมาตรา 4 ดังนี้
มาตรา 3 : สถาบันใดก็ตามที่ตั้งขึ้นโดยไม่หวังผลประโยชน์หากำไรจัดตั้งขึ้นเพื่อบริการ รับใช้สังคมและเพื่อการพัฒนาสังคม และเปิดให้สาธารณชนทั่วไปเข้าชมและจัดแสดงเผยแพร่ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาหาความรู้ เพื่อการศึกษาเล่าเรียน และเพื่อบันเทิงใจต่อหลักฐานทางวัตถุ อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์เรา ถ้าสถาบันใดอยู่ในขอบข่ายนี้ สถาบันนั้นถือเป็นพิพิธภัณฑสถาน
มาตรา 4 : อธิบายว่า พิพิธภัณฑสถานยังรวมถึง
ก. สถาบันเพื่อการอนุรักษ์หรือสงวนรักษา และแกลเลอรีที่จัดแสดงและเปิดบริการอย่างถาวร เช่น หอสมุด หอจดหมายเหตุ
ข. โบราณสถานทางธรรมชาติวิทยา แหล่งทางโบราณคดี และแหล่งทางชาติพันธุ์วิทยา แหล่งทางโบราณสถานทางประวัติศาสตร์ และแหล่งหรือสถานที่มีลักษณะเป็นพิพิธภัณฑ์ในตัวเองโดยธรรมชาติ ซึ่งควรค่าแก่การอนุรักษ์และปลูกฝังความรู้ความเข้าใจ
ค. สถาบันที่จัดแสดงเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เช่น สวนพฤกษชาติ สวนสัตว์ สถานเลี้ยงสัตว์ บริเวณสงวนสิ่งมีชีวิต (Vivaria) วนอุทยาน ฯลฯ
ง. สถานที่ธรรมชาติ ที่จัดไว้เป็นเขตสงวน
จ. ศูนย์วิทยาศาสตร์และหอดาราศาสตร์
คำนิยามของสภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติกำหนดไว้อย่างกว้างขวางมาก นายธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร ผู้บุกเบิกพัฒนากิจการพิพิธภัณฑ์ของไทยได้ให้คำจำกัดความไว้ว่า
“พิพิธภัณฑ์สถานโดยทั่วไปถือกันว่า เป็นสถานที่ตั้งแสดงศิลปวัตถุและโบราณวัตถุ และเป็นที่เก็บรวบรวมสมบัติทางสติปัญญา (Intellectual Property) ทั้งนี้เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และเพื่อเป็นหลักฐานที่บรรดาผู้มีสติปัญญาจะใช้เป็นสถานที่ค้นคว้า และเป็นพยานอ้างอิงความรู้ตามศิลปวิทยาแขนงต่าง ๆ ตั้งแต่ความรู้ขั้นต่ำจนถึงขั้นสูงสุด พิพิธภัณฑสถานจึงมิใช่สมบัติเฉพาะของประชาชนและประเทศชาติแต่ประเทศใดประเทศหนึ่ง หากแต่เป็นสมบัติส่วนรวมของโลก” (วราภรณ์ เผือกเล็ก, 2541 : 13 -14)


หนังสืออ้างอิง...

กรมศิลปากร. 2536. คู่มือ : การปฏิบัติงานของภัณฑารักษ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร.
ม.ท.ป. : ม.ป.พ.
จิรา จงกล. 2532. พิพิธภัณฑสถานวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์. 2530. พิพิธภัณฑ์วิทยา. อยุธยา : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา.
วราภรณ์ เผือกเล็ก. 2541. พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทย. กรุงเทพฯ : เอส.ที.พี เวิลด์ มีเดีย.

ออฟ กล่าวว่า...

ออฟ

พิพิธภัณฑ์
ความหมายของพิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การสัมมนาเรื่องหน้าที่ทางการศึกษาของพิพิธภัณฑ์สถานซึ่ง UNESCO จัดขึ้นในปีพ.ศ.2501นี้ Rio de janero ทำให้พิพิภัณฑ์มีการพัฒนามาโดยตลอด คำว่า"พิพิธภัณฑ์" พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่4 ผู้เชี่ยวชาญทางภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นผู้บัญญัติขึ้น
"พิพิธ" เป็นภาษาบาลี-สันสกฤต แปลว่า ต่างๆกัน
"ภัณฑ์" แปลว่าเครื่องใช้
"พิพิธภัณฑ์" คือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆนานาที่รวบรวมเก็บไว้ เพื่อชื่นชมและศึกษาหาความรู้เช่น วัตถุโบราณ ศิลปวัตถุ
นิคม มูสิกะคามะ = กล่าวว่าตั้งขึ้นรวบรวม สงวนรักษาและจัดแสดงวัตถุอันมีความสำคัญทางวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาและความเพลิดเพลิน
พิพิธภัณฑ์สถานโดยทั่วไปถือว่า เป็นสถานที่ตั้งแสดงศิลปวัตถุและโบราณวัตถุ และเป็นที่เก็บรวบรวมสมบัติทางสติปัญญา ทั้งนี้เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และเพื่อเป็นหลักฐานที่ผู้ทั่วไปได้ค้นคว้าหาความรู้
พิพิธภัณฑ์แบ่งได้เป็นสาขาดังนี้
1.พิพิธภัณฑ์ทางศิลปะ 2.พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย
3.พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา 4.พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และเครื่องจักรกล 5.พิพิธภัณฑ์ทางมานุษย์วิทยาและชาติพันธุ์วิทยา 6.พิพิธภัณฑ์ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี 7.พิพิธภัณฑ์ประจำเมืองหรือท้องถิ่น 8.พิพิธภัณฑ์แบบพิเศษ 9.พิพิธภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา

หนังสืออ้างอิง
- กรมศิลปากร 2536 :การปฏิบัติของภัณฑารักษ์ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ กรมศิลปการ พ.ท.ป. :กรมศิลปาการ
- จิรา จงกล.2532 พิพิธภัณฑ์สถานวิทยา :กรมศิลปากร
- ประชุม ชุ่มเพ็งพันธุ์ 2530 พิพิธภัณฑ์วิทยา อยุธยา :พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา
- วราภรณื เผือกเล็ก 2541 พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทย กรุงเทพ เอส.พี.ที เวิลด์ มีเดีย

แต้ว กล่าวว่า...

1.ความหมายตามรูปศัพท์ของมิวเซียม( Museum)
"มิวเซียม" เป็นคำยืมมาจากภาษาละติน ว่า "มูเซอุม"4 มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกโบราณว่า "มูเซออน" (Mouseion) ซึ่งหมายถึง "สถานที่สิงสถิตของหมู่เทพธิดามูซา" คณะเทวีนี้มีอยู่ด้วยกัน 9 องค์5 ทั้งหมดล้วนเป็นพระธิดาของเทพเจ้าเซอุส ราชาแห่งเทพทั้งมวล กับเทวีเนโมซีเน เทวีแห่งความทรงเจ้า กล่าวกันว่าหมู่เทพธิดามูซาเป็นตัวแทนของดนตรี บทเพลง และ นาฏศิลป์ โดยมีอำนาจดลใจให้กวีสามารถแต่งกวีนิพนธ์ได้ ด้วยเหตุนี้ จึงถือกันว่าหมู่เทพธิดามูซาเป็นผู้อุปถัมภ์เหล่านักปราชญ์และกวีให้สามารถแต่งตำราและบทประพันธ์ต่าง ๆ ขึ้นมาได้ และเป็นเหล่าเทพแห่งสรรพวิชาด้วยเช่นกัน โดยในช่วงยุคคลาสสิกตอนปลาย ได้มีการจำแนกหน้าที่อุปถัมภ์ให้แก่เทพธิดาแต่ละองค์ แทนด้วยสรรพวิชาต่าง ๆ ดังนี้คือ
1. คลีโอ (Cleo) เทพธิดาแห่งประวัติศาสตร์นิพนธ์
2. ยูเตอร์เป (Euterpe) เทพธิดาแห่งกวีนิพนธ์และทำนองเสนาะ
3. ธาเลีย (Thalia) เทพธิดาแห่งบทร้อยกรอง และสุขนาฏกรรม
4. เมลโปเมเน (Melpomene) เทพธิดาแห่งโศกนาฏกรรม
5. เติร์ปซิโคเร (Terpsichore) เทพธิดาแห่งการขับรำและฟ้อนรำ
6. เอราโต (Erato) เทพธิดาแห่งกวีนิพนธ์เรื่องรักใคร่ และการล้อเลียนท่าทาง
7. โปลิฮิมเนีย (Polyhymnia) เทพธิดาแห่งบทเพลงสรรเสริญอันศักดิ์สิทธิ์
8. ยูราเนีย (Eurania) เทพธิดาแห่งดาราศาสตร์ หรือ งานนิพนธ์ด้านดาราศาสตร์
9. คาลลิโอเป (Calliope) เทพธิดาแห่งบทประพันธ์ประเภทมหากาพย์
ที่มา ตรงใจ หุตางกูร http://www4.sac.or.th/museumdatabase/show_article.php?article=15&sword=

2.คำว่า “พิพิธภัณฑ์” (MUSEUM) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ผู้ทรงเชี่ยวชาญทางภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นผู้บัญญัติขึ้น คำว่าพิพิธภัณฑ์ อาจแยกตามรูปคำและความหมายได้ดังนี้
“พิพิธ” เป็นภาษาบาลี-สันสกฤต แปลว่า “ต่าง ๆ กัน”
“ภัณฑ์” แปลว่า สิ่งของเครื่องใช้
“พิพิธภัณฑ์” คือ สิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ นานาที่เก็บรวบรวมไว้ เพื่อชื่นชมและศึกษาหาความรู้ เช่น โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ เป็นต้น (วราภรณ์ เผือกเล็ก, 2541 : 9-10)
นิคม มูสิกะคามะ (2521 : 3) ได้กล่าวถึงความหมายของพิพิธภัณฑ์ว่า พิพิธภัณฑสถาน คือสถาบันที่ตั้งขึ้น เพื่อรวบรวม สงวนรักษาและจัดแสดงวัตถุอันมีความสำคัญทางวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาและความเพลิดเพลิน ให้รวมถึงหอศิลป์ อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ สวนสัตว์ สวนพฤษชาติ วนอุทยาน สถานที่เลี้ยงสัตว์น้ำ และสถานที่อื่น ๆ ที่จัดแสดงสิ่งมีชีวิต
ที่มา http://eduit.pn.psu.ac.th/edtech/webquest/museum/museum%20web/msmean.htm
หนังสืออ้างอิง
กรมศิลปากร. 2536. คู่มือ : การปฏิบัติงานของภัณฑารักษ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร.
ม.ท.ป. : ม.ป.พ.
จิรา จงกล. 2532. พิพิธภัณฑสถานวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์. 2530. พิพิธภัณฑ์วิทยา. อยุธยา : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา.
วราภรณ์ เผือกเล็ก. 2541. พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทย. กรุงเทพฯ : เอส.ที.พี เวิลด์ มีเดีย.
สรุป
ที่รู้จักคำว่า Museum ในแง่ของสิ่งปลูกสร้างน่าจะมีความหมายถึงองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรที่เปิดเป็นสถานที่สาธารณะ และเป็นสถาบันถาวรที่ให้บริการแก่สังคมและมีส่วนในการพัฒนาสังคม มีหน้าที่รวบรวม สงวนรักษา ค้นคว้าวิจัย เผยแพร่ความรู้ และจัดแสดง วัตถุอันเป็นหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ เพื่อจุดประสงค์ทางการค้นคว้า การศึกษา และ ความเพลิดเพลิน
นางสาวปภาวี เกาะงาม ID: 1480802337

ttopp กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์ เป็น แหล่งความรู้ที่ ยั่งยืน อยู่ภายใต้การบริการของสังคม และ เปิด ให้ ทุกบุคคล เข้าได้ ซึ่ง มี การรวบรวมของ การค้นพบต่างๆ , การสื่อสาร, และนิทรรศการ ทั้งที่จับต้องได้ และ ไม่ได้ เป็นมรดกตกทอดของมนุษย์ และของธรรมชาติ ด้วยจุดประสงค์ที่ว่าในเรื่อง ของการศึกษา การวิจัย และ อรรถรส เป็นความกล่าวของ The International Council of Muses. [1] The UK Muses Association definition


“พิพิธภัณฑ์เป็นสถานที่ทีทำให้ผู้คนสามารถแสดงชุดงานศิลปะเพื่อแรงบันดาลใจ การเรียนรู้ และความเพลิดเพลิน ทั้งยังเป็นสถานที่ที่รวบรวม รักษา และทำให้เข้าถึงสิ่งประดิษฐ์และตัวอย่างงานศิลปะซึ่งพิพิธภัณฑ์จะเป็นแหล่งที่ดูแลสิ่งเหล่านี้ไว้เพื่อสังคม”
Credit: http://en.wikipedia.org/wiki/Museum

ผึ้ง กล่าวว่า...

ในกาลต่อมาเมื่อพระบาทสมเด้จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงรวบรวมของแปลกและของมีค่ามากขึ้น ประกอบกับทรงเจริญพระราชไมตรีกับต่างประเทศมากขึ้น ของที่ระลึกและของหายากย่อมมีเพิ่มขึ้นดังนั้น เมื่อพระองค์ทรงสร้างพระอภิเนานิเวศน์ เพื่อเป็นที่เสด็จประทับ ก็ทรงสร้างพระที่นั่งราชฤดี เพื่อจัดตั้งของต่างๆ ที่ทรงสะสมไว้อีกแห่งหนึ่ง เป็นเหตุให้เรียกของสะสมต่อมาว่า "พิพิธภัณฑ์" หมายถึงสิ่งของเก็บสะสมต่างๆ ประเภท และเรียกสถานที่เก็บรักษาว่า "พิพิธภัณฑสถาน"
เมื่อมีการเก็บสะสมวัตถุเป็นที่ทางอันหนึ่งอันเดียวกันแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีอภิบายวัตถุต่างๆ ไว้อย่างสั้นๆ เป็นแนวทางในการศึกษาหาความรู้จากสิ่งของในพิพิธภัณฑ์ในเวลาต่อมา
ข้อมูลจาก: http://www.thailandmuseum.com/bangkok/nation_exhibition.htm

ผึ้ง กล่าวว่า...

ข้อมูลจาก: http://www.thailandmuseum.com/bangkok/nation_exhibition.htm

Ammy กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์ เป็นสถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นโดยมีจุดประสงค์ รูปแบบ เนื้อหาและหน้าที่แตกต่างกันไปตามความเป้าหมายในการจัดตั้ง แต่มีเป้าหมายหลักอย่างเดียวกัน ก็คือเก็บรักษาและจัดแสดงจิตสำนึกทางวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ วัตถุ สิ่งของที่เก็บและจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์อาจเคลื่อนย้าย เปลี่ยนแปลง และหมุนเวียนได้อย่างหลากหลาย
พิพิธภัณฑ์มักจะให้บริการแก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ในการศึกษา สันทนาการ แสดงความภูมิใจของท้องถิ่น ดึงดูดนักท่องเที่ยว หรือแสดงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ โบราณคดี ฯลฯ โดยมีผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ เรียกว่า ภัณฑารักษ์
ปัจจุบันแนวคิดของพิพิธภัณฑ์ ยังมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น จากแค่เป็นการเก็บ/แสดงวัตถุ เป็นการให้ประสบการณ์การเรียนรู้ และความเพลิดเพลินไปพร้อมๆกัน ตัวอย่างเช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ (aquarium) พิพิธภัณฑ์หรือศูนย์การหรืออุทยานการเรียนรู้ที่มีชีวิต (living museum) บางทีอาจไม่มีวัตถุเก็บรักษาไว้แต่เป็นการจัดแสดงสื่อความหมายโดยสื่อต่างๆร่วมกันก็ได้ เป็นต้น

(จาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%91%E0%B9%8C )

พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑสถาน [พิพิดทะพัน, พันทะสะถาน] น. สถานที่เก็บรวบรวมและแสดง
สิ่งต่าง ๆ ที่มีความสำคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์
โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อ
ให้เกิดความเพลิดเพลินใจ.

(จาก http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp )

เบ็นซ์ กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์ ความหมายของพิพิธภัณฑ์ " ตามที่สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ หรือ ICOM (International Council of Museums) ได้ให้คำจำกัดความไว้แล้วว่า " พิพิธภัณฑ์ " คือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อการพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษาและจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์น้ำ และสถานที่อันจัดเป็นเขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์วิทยาศาสตร์และท้องฟ้าจำลอง "
จะเห็นได้ว่า คำจำกัดความของพิพิธภัณฑ์นั้นกว้างมาก ครอบคลุมทั้งด้านวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์และธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์นั้นแบ่งได้หลายแบบและบางแห่งก็จัดได้หลายประเภท เช่น ๑) แบ่งตามการสะสมรวบรวมวัตถุ ( Collection) ๒) แบ่งตามต้นสังกัดหรือการบริหาร เช่น พิพิธภัณฑ์ของรัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย ๓) แบ่งตามลักษณะของผู้เข้าชมหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น นักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลทั่วไป หรือ ๔) แบ่งตามการจัดแสดง เช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์แหล่งโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ฯลฯ
แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะประเภทของพิพิธภัณฑ์ที่แบ่งตามการจัดแสดง และวัตถุประสงค์ที่ใช้ในการจัดแสดง ซึ่งเป็นที่นิยมกันทั่วไปในปัจจุบัน คือ
๑. พิพิธภัณฑสถานประเภททั่วไป จะรวบรวมวัตถุทุกประเภท และทุกเรื่องเอาไว้ ถือเป็นพิพิธภัณฑ์แบบแรกก่อนที่จะมีการพัฒนาเป็นพิพิธภัณฑ์เฉพาะเรื่องในสมัยต่อมา
๒. พิพิธภัณฑสถานศิลปะ จัดแสดงเกี่ยวกับศิลปวัตถุทุกประเภท โดยจะแยกย่อยออกเป็น พิพิธภัณฑสถานศิลปประยุกต์ แสดงวัตถุที่เป็นงานฝีมือ เครื่องใช้ไม้สอยต่างๆ หอศิลป์ แสดงงานศิลปะประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม, พิพิธภัณฑสถานศิลปะสมัยใหม่จะคล้ายกับหอศิลป์ แต่จะเป็นศิลปะสมัยใหม่ของศิลปินร่วมสมัยในยุคหลัง, พิพิธภัณฑสถานศิลปะประเภทการแสดง และพิพิธภัณฑสถานศิลปะแรกเริ่ม แสดงงานศิลปะดั้งเดิมของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์
๓. พิพิธภัณฑสถานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื้อหาหลักคือแสดงวิวัฒนาการความก้าวหน้าของวัตถุที่มนุษย์คิดค้นประดิษฐ์ขึ้น
๔. พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา จัดแสดงเรื่องราวของธรรมชาติเกี่ยวกับเรื่องของโลก ทรัพยากรทางธรรมชาติต่างๆ และยังรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ-สัตว์บกด้วย
๕. พิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์ แสดงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แยกย่อยได้เป็นพิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์ แสดงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับการเมือง ทหาร สังคม และเศรษฐกิจ, บ้านประวัติศาสตร์ คือการนำเสนอสถานที่ซึ่งเคยเป็นที่อยู่อาศัยของผู้ที่มีชื่อเสียงในอดีต, โบราณสถาน, อนุสาวรีย์ และสถานที่สำคัญทางวัฒนธรรมต่างๆ รวมถึงเมืองประวัติศาสตร์ และพิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์โบราณคดี
๖. พิพิธภัณฑสถานชาติพันธุ์วิทยาและประเพณีพื้นเมือง แสดงชีวิตความเป็นอยู่ในทางวัฒนธรรมและสังคมของมนุษย์และชาติพันธุ์ต่างๆ แบ่งออกเป็น พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้าน (พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น) โดยจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้พื้นบ้าน และพิพิธภัณฑสถานกลางแจ้ง เป็นการจำลองภาพในอดีตด้วยการนำอาคารเก่า หรือจำลองสิ่งปลูกสร้างต่างๆ มาไว้ในบริเวณเดียวกัน โดยพยายามสร้างสภาพแวดล้อมรวมถึงบรรยากาศให้เหมือนเช่นในอดีต
จาก คลังปัญญา /www.panyathai.or.th/wik

พิพิธภัณฑ์มักจะให้บริการแก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ในการศึกษา สันทนาการ แสดงความภูมิใจของท้องถิ่น ดึงดูดนักท่องเที่ยว หรือแสดงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ โบราณคดี ฯลฯ โดยมีผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ เรียกว่า ภัณฑารักษ์
ปัจจุบันแนวคิดของพิพิธภัณฑ์ ยังมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น จากแค่เป็นการเก็บ/แสดงวัตถุ เป็นการให้ประสบการณ์การเรียนรู้ และความเพลิดเพลินไปพร้อมๆกัน ตัวอย่างเช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ (aquarium) พิพิธภัณฑ์หรือศูนย์การหรืออุทยานการเรียนรู้ที่มีชีวิต (living museum) บางทีอาจไม่มีวัตถุเก็บรักษาไว้แต่เป็นการจัดแสดงสื่อความหมายโดยสื่อต่างๆร่วมกันก็ได้ เป็นต้น

อาร์ม กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์

[พิพิดทะพัน] มีรากศัพท์มาจากภาษา บาลี-สันกฤต จากคำว่า วิวิธ ซึ่งเป็นคำวิเศษณ์ แปลว่า ต่างๆ กัน สมาส กับคำว่า ภัณฑ์ ซึ่งเป็นคำนาม แปลว่า สิ่งของเครื่องใช้ ดังนั้น เมื่อรวมกันจึงได้คำว่า วิวิธภัณฑ์ หรือ ตามสำเนียงไทย คือ คำว่า พิพิธภัณฑ์นั่นเอง ซึ่งถ้าแปลตามรูปศัพท์แล้ว หมายถึงสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่มีอยู่อย่างหลากหลาย แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าแปลโดยเอาความหมายที่สื่อสารกันแล้ว ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้กล่าวไว้ว่า พิพิธภัณฑ์ เป็นคำนาม หมายถึง "สิ่งของต่างๆ ที่รวบรวมไว้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา เช่น โบราณวัตถุ หรือ ศิลปวัตถุ" ซึ่งถึงแม้ว่า ในพจนานุกรมได้ให้ความหมายไว้เช่นนั้น แต่การใช้คำว่า พิพิธภัณฑ์ ในปัจจุบันมักนิยมหมายถึง "สถานที่หรือ สถาบัน สำหรับเก็บรวบรวมสิ่งของต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการศึกษา" ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ความหมายของพิพิธภัณฑ์นี้ได้แปรเปลี่ยนไปจากรูปศัพท์เดิม กลายเป็นมีความหมายเดียวกันกับคำว่า พิพิธภัณฑสถาน

พิพิธภัณฑสถาน

[พิพิดทะพันทะสะถาน] ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 กล่าวไว้ว่า เป็นคำนาม หมายถึง "สถาบันถาวรที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่างๆ ที่มีความสำคัญด้านวัฒนธรรม หรือ ด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาเล่าเรียน และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ"

ข้อมูลจาก
http://203.144.221.103/database/museums/museums.htm
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ปัท กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์ เป็นสถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นโดยมีจุดประสงค์ รูปแบบ เนื้อหาและหน้าที่แตกต่างกันไปตามความเป้าหมายในการจัดตั้ง แต่มีเป้าหมายหลักอย่างเดียวกัน ก็คือเก็บรักษาและจัดแสดงจิตสำนึกทางวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ วัตถุ สิ่งของที่เก็บและจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์อาจเคลื่อนย้าย เปลี่ยนแปลง และหมุนเวียนได้อย่างหลากหลาย

พิพิธภัณฑ์มักจะให้บริการแก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ในการศึกษา สันทนาการ แสดงความภูมิใจของท้องถิ่น ดึงดูดนักท่องเที่ยว หรือแสดงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ โบราณคดี ฯลฯ โดยมีผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ เรียกว่า ภัณฑารักษ์

ปัจจุบันแนวคิดของพิพิธภัณฑ์ ยังมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น จากแค่เป็นการเก็บ/แสดงวัตถุ เป็นการให้ประสบการณ์การเรียนรู้ และความเพลิดเพลินไปพร้อมๆกัน ตัวอย่างเช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ (aquarium) พิพิธภัณฑ์หรือศูนย์การหรืออุทยานการเรียนรู้ที่มีชีวิต (living museum) บางทีอาจไม่มีวัตถุเก็บรักษาไว้แต่เป็นการจัดแสดงสื่อความหมายโดยสื่อต่างๆร่วมกันก็ได้ เป็นต้น

http://th.wikipedia.org
พิพิธภัณฑ์ ความหมายของพิพิธภัณฑ์ ตามที่สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่างชาติ หรือ ICOM (International Council of Museums)ได้ให้คำจำกัดความเอาไว้ว่า พิพิธภัณฑ์ คือหน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสารและจัดแสดงนิทรรศการให้บริการแก้สังคมเพื่อพัฒนา เพื่อการค้นคว้าศึกษา
http://www.pfnyathai.or.th

สา กล่าวว่า...

จัดทำโดย นางสาว สุทิษา กอธรรมรังษี ( ษา )

การสะสมรวบรวมสิ่งของต่างๆ ไว้ให้คนมาร่วมชื่นชมในสถานที่เดียวกันนั้น ในประเทศไทย ได้เริ่มขึ้นด้วย พระราฃดำริในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔แห่งพระราชจักกรีวงศ์ พระองค์ทรงสร้างพระที่นั่งราชฤดีขึ้นทางทิศตะวันออกของพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย เป็นพิพิธภัณฑสถานส่วนพระองค์ เพื่อจัดแสดงของเก่า ที่ทรงได้มาจากที่ต่างๆ เมื่อครั้งทรงผนวช ส่วนใหญ่เป็นศาสนวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป พระที่นั่งมนังคศิลาบาต กับสิ่งของที่นานาประเทศส่งเข้ามาน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นทางพระราชไมตรี จากบันทึกของเซอร์ยอห์น เบาริ่ง พ.ศ.๒๓๘๙ ทำให้ทราบว่าของที่ทรงจัดรวบรวมไว้ มีเครื่องประดับทุกชนิด มีของหลายชนิดที่เป็นของแปลกจากธรรมชาติ เช่นนอแรดรูปร่างประหลาด ประติมากรรมจากยุโรป แจกันกระเบื้อง เครื่องถ้วยจีน ไม้จำหลักงามๆพระพุทธรูป เครื่องทรงของอดีตบูรพกษัตริยาธิราช ตลอดจนเครื่องประดับที่ทำด้วยทองคำ และประดับด้วยอัญมณีที่มีค่ามากมาย
ในกาลต่อมาเมื่อพระบาทสมเด้จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงรวบรวมของแปลกและของมีค่ามากขึ้น ประกอบกับทรงเจริญพระราชไมตรีกับต่างประเทศมากขึ้น ของที่ระลึกและของหายากย่อมมีเพิ่มขึ้นดังนั้น เมื่อพระองค์ทรงสร้างพระอภิเนานิเวศน์ เพื่อเป็นที่เสด็จประทับ ก็ทรงสร้างพระที่นั่งราชฤดี เพื่อจัดตั้งของต่างๆ ที่ทรงสะสมไว้อีกแห่งหนึ่ง เป็นเหตุให้เรียกของสะสมต่อมาว่า "พิพิธภัณฑ์" หมายถึงสิ่งของเก็บสะสมต่างๆ ประเภท และเรียกสถานที่เก็บรักษาว่า "พิพิธภัณฑสถาน"
เมื่อมีการเก็บสะสมวัตถุเป็นที่ทางอันหนึ่งอันเดียวกันแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีอภิบายวัตถุต่างๆ ไว้อย่างสั้นๆ เป็นแนวทางในการศึกษาหาความรู้จากสิ่งของในพิพิธภัณฑ์ในเวลาต่อมา
ข้อมูลจาก http://www.thailandmuseum.com/bangkok/nation_exhibition.htm

พิพิธภัณฑสถาน หมายถึง สถาบันถาวรที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่างๆ ที่มีความสำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม หรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมาย เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาเล่าเรียนและก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ
ข้อมูลจาก พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พศ 2542

ต้อม กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์คือ…………
พิพิธภัณฑ์ เป็นสถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นโดยมีจุดประสงค์ รูปแบบ เนื้อหาและหน้าที่แตกต่างกันไปตามความเป้าหมายในการจัดตั้ง แต่มีเป้าหมายหลักอย่างเดียวกัน ก็คือเก็บรักษาและจัดแสดงจิตสำนึกทางวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ วัตถุ สิ่งของที่เก็บและจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์อาจเคลื่อนย้าย เปลี่ยนแปลง และหมุนเวียนได้อย่างหลากหลาย พิพิธภัณฑ์มักจะให้บริการแก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ในการศึกษา สันทนาการ แสดงความภูมิใจของท้องถิ่น ดึงดูดนักท่องเที่ยว หรือแสดงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ โบราณคดี ฯลฯ โดยมีผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ เรียกว่า ภัณฑารักษ์ ปัจจุบันแนวคิดของพิพิธภัณฑ์ ยังมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น จากแค่เป็นการเก็บแสดงวัตถุ เป็นการให้ประสบการณ์การเรียนรู้ และความเพลิดเพลินไปพร้อมๆกัน ตัวอย่างเช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ (aquarium) พิพิธภัณฑ์หรือศูนย์การหรืออุทยานการเรียนรู้ที่มีชีวิต (living museum) บางทีอาจไม่มีวัตถุเก็บรักษาไว้แต่เป็นการจัดแสดงสื่อความหมายโดยสื่อต่างๆ ร่วมกันก็ได้ เป็นต้น

พิพิธภัณฑ์ในความคิดคือ…………….
1.เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถถ่ายทอดความรู้นั้นๆกับผู้ที่ศึกษาได้เข้าใจโดยอย่างระเอียด
2.พิพิธภัณฑ์ไม่ใช้สวนสนุกแต่เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถให้ผู้ที่ศึกษาได้เรียนรู้อย่างเพลิดเพลิน
ตัวอย่างเช่น
 การจัดแสดงนั้นเป็นหัวข้ออะไรก็ตามผู้ที่ศึกษาอาจจะมีส่วนรวมกับกิจกรรมของหัวข้อนั้นโดยกิจกรรมจะสามารถให้ความรู้ได้ และ ความรู้สึก

3.พิพิธภัณฑ์อาจจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวอีกที่หนึ่งของสถานที่นั้น หรือ ประจำจังหวัดนั้นๆ
4.พิพิธภัณฑ์เป็นที่รวบรวมสิ่งสำคัญ และ สิ่งที่หาอยากมาไว้จัดนิทรรศการให้ผู้ชมได้ศึกษา
5.พิพิธภัณฑ์เป็นที่ทำให้รู้ถึงบุคคลสำคัญในศาสตร์ต่างๆได้อย่างชัดเจน
6.หัวข้อเนื้อหาบางสิ่งอาจจะเปลี่ยบได้กับ การศึกษานอกตำราเรียน
7.พิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ในเรื่องสังคม และ วัฒนธรรม










นาย เฉลิมวงศ์ พุทธรักษา 1480800273

กิ๊บ กล่าวว่า...

" พิพิธภัณฑ์ " คือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อการพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษาและจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์น้ำ และสถานที่อันจัดเป็นเขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์วิทยาศาสตร์และท้องฟ้าจำลอง "

ข้อมูลจาก : http://www.lek-prapai.org/news/news22.3.htm

Ball กล่าวว่า...

พิพิธภัณฑ์ คือ อะไร
คือ แหล่งเรียนรู้ซึ่งมีคุณค่าและการสร้างสรรค์ให้เกิดการเรียนรู้ที่ไม่ใช่แค่อยู่แต่ในตำราหรือในห้องเรียน แต่เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่สามารถเรียนรู้ได้อย่างเพลิดเพลิน มีสีสันและมีเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากยิ่งขึ้น

ปิง กล่าวว่า...

ความหมายของพิพิธภัณฑ์คือ เป็นสถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นโดยมีจุดประสงค์ รูปแบบ เนื้อหาและหน้าที่แตกต่างกันไปตามความเป้าหมายในการจัดตั้ง แต่มีเป้าหมายหลักอย่างเดียวกัน ก็คือเก็บรักษาและจัดแสดงจิตสำนึกทางวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ